รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมด
GIS issue » สรุปผลการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาโปรแกรมด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางอินเทอร์เน็ต” 17-21 มีนาคม 2568
สรุปผลการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาโปรแกรมด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางอินเทอร์เน็ต” 17-21 มีนาคม 2568 เป็นหลักสูตรฝึกอบรมโดยสำน้กพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาโปรแกรมด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางอินเทอร์เน็ต ให้สามารถเชื่อมต่อผู้ใช้กับผู้ให้บริการข้อมูลในระบบ Geospatial Data Clearinghouse ตามมาตราฐาน OGC (Open Geospatial consortium) และ ISO (International Standard Organization) โดยจะสามารถ - ค้นหา เข้าถึง ใช้ประโยชน์ และเผยแพร่ข้อมูลภูมิสารสนเทศตามมาตรฐาน OGC, ISO - สร้างและจัดการฐานข้อมูลเชิงแผนที่ (Geodatabase) ได้ - นำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ สู่ฐานข้อมูลได้ - สืบค้น และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่เบื้องต้น ผ่านฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ได้ - ใช้งานระบบบริการข้อมูลเชิงพื้นที่ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต แสดงข้อมูลเชิงพื้นที่และปรับแต่งข้อมูล ด้วยซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และ Web Map Service ได้ - ทำงานกับข้อมูลเชิงพื้นที่ในรูปแบบ geoJSON
คำสำคัญ : Geodatabase  leaflet  Mapserver  PostGIS  PostgreSQL  Web Map Service  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 7/4/2568 22:34:16  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 22:35:25
การจัดการองค์ความรู้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ » การจัดการองค์ความรู้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 5th International Conference on Science Technology & Innovation (5th ICSTI) – Maejo University พร้อมเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบบรรยาย
การประชุมวิชาการระดับนาชาตินี้มีเนื้อหาครอบคลุมหัวข้อด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่สนับสนุนเกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture) เกษตรดิจิทัล (Digital Agriculture) และ เกษตรเพื่อสุขภาวะ (Well-being Agriculture) โดยวิทยากรหลัก (Keynote Speakers) ได้นำเสนอทิศทางของการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้างนวัตกรรมทางด้านการเกษตร ที่มุ่งเน้นความยั่งยืน ความทันสมัย และการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดี ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 43  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทวีศักดิ์ จันทร์งาม  วันที่เขียน 4/4/2568 16:50:33  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 16:16:13
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ ๖ (CSTI-ครั้งที่ 6)
ประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ ๖ โดยในปีนี้ ภายใต้หัวข้อ "วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อเกษตรสุขภาวะที่ยั่งยืน" ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีบรรยายพิเศษ จากหลากหลายสาขาวิชา และสถานประกอบการ
คำสำคัญ : Conference  CSTI  Statistics  ประชุมวิชาการ  ระดับชาติ  วิจัย  วิชาการ  วิทยาศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 32  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 4/4/2568 14:31:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 16:18:26
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 5th International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (5th ICSTI-MJU) Hybrid conference (Online & Onsite)
การประชุมวิชาการ The 5th International Conference on Science Technology & Innovation (5th ITSCI-MJU 2025) ภายใต้กลุ่มที่นำเสนอ จำแนกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 : Mathematics, Statistics, Computer & Data Science กลุ่มที่ 2 : Innovations in Science & Technology กลุ่มที่ 3 : Biological Science & Environment โดยการนำเสนอผลงานวิจัย เป็นระบบ Hybrid ได้แก่ การนำเสนอ Onsite / Online โดยมี Invite Speaker จำนวน 4 หัวข้อ จากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่าง ๆ
คำสำคัญ : Conference  ICSTI  Statistics  ประชุมวิชาการ  ระดับนานาชาติ  วิจัย  วิชาการ  วิทยาศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 48  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 4/4/2568 14:20:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 22:28:58
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การใช้งาน Microsoft-Copilot ในการวิเคราะห์และตรวจสอบ มคอ.3 รายวิชาการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
ผลการวิเคราะห์จาก Microsoft-Copilot พบว่า รายวิชา "การประมวลผลภาษาธรรมชาติ" ครอบคลุมแนวคิดและเทคนิคสำคัญในด้าน NLP เช่น การแบ่งส่วนคำ การวิเคราะห์ประโยค การสร้างโมเดลภาษา และการประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ มีการปรับปรุงการเรียนการสอนให้เป็น Active Learning และใช้การประเมินแบบรูบริค (Rubric Score) ผลลัพธ์การเรียนรู้ (CLOs) สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLOs) อย่างครบถ้วนและทันสมัย
คำสำคัญ : CLOs  Co-pilot  Microsoft  PLOs  การวิเคราะห์  มคอ.3  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 36  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 4/4/2568 11:48:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 21:50:32
งานประชุมวิชาการ The 5thInternational Conference on Science Technology & Innovation (5th ICSTI) » Biological activity of Strobilanthes cusia (Nees) Kuntze Extract and Application
This study aimed to evaluate the antioxidant activity and total phenolic content of the aqueous extract (HAE) of Hom (Strobilanthes cusia (Nees) Kuntze), which was obtained using the maceration extraction technique. Additionally, the study focused on the development of cooling gel sheets containing Hom extract as a potential method for fever reduction. Various formulations were prepared by combining Hom extract with different polymers, such as xanthan gum, HPMC, and Carbopol 934 NF, in varying ratios. These formulations were assessed based on physical appearance, pH, homogeneity, consistency, viscosity, swelling behavior, stability, and skin irritation potential.
คำสำคัญ : Biological activity  Strobilanthes cusia  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 25  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 4/4/2568 11:30:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 16:27:25
งานประชุมวิชาการ The 5thInternational Conference on Science Technology & Innovation (5th ICSTI) » Biological Activity of Strobilanthes tonkinensis Extract for Applying in Thai Perfume
This research aimed to investigate the phytochemical composition and antioxidant activity of Strobilanthes tonkinensis, an aromatic herb. Fresh leaves of S. tonkinensis (ST) were extracted using the maceration method with either ethanol or distilled water, followed by phytochemical screening.
คำสำคัญ : Strobilanthes tonkinensis Extract  Thai perfume  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 25  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 4/4/2568 11:28:58  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 22:01:10
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการเรียนรู้ด้วย Microsoft Copilot ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ "Enhance Teaching and Learning with Microsoft Copilot"
การอบรมเชิงปฏิบัติการ "Enhance Teaching and Learning with Microsoft Copilot" ที่จัดโดย Microsoft Learn เป็นโอกาสสำคัญสำหรับนักการศึกษาในการเรียนรู้และนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการสอนและการเรียนรู้ การอบรมนี้เน้นการใช้ Microsoft Copilot ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการออกแบบการสอน การสร้างเนื้อหา และการประเมินผล โดยมีการสอนวิธีการสร้างคำสั่งที่มีประสิทธิภาพและการวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้จาก Copilot ผู้เข้าร่วมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของ Copilot และวิธีการใช้งานในบริบทการศึกษา รวมถึงการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีและการนำ AI มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้ทันสมัยและตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียน การอบรมนี้เป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักการศึกษาในการใช้เทคโนโลยี AI เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ : AI ปัญญาประดิษฐ์  การเรียนการสอนดิจิทัล  การเรียนรู้ Microsoft  เทคโนโลยี Copilot  ประสิทธิภาพ  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 399  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จักรกฤช เตโช  วันที่เขียน 4/4/2568 10:52:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 21:21:28
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » เทคนิคการใช้พีเอชมิเตอร์ (pH meter) ในห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ : pH meter  พีเอชมิเตอร์  หลักการวัดค่าพีเอช  อบรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 29  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 3/4/2568 19:40:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 16:12:03
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » การใช้ Google Form + AI วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติแบบง่ายๆ
คำสำคัญ : AI  Google forms  วิเคราะห์ข้อมูลจาก Google forms  สร้างแบบสอบถาม  อบรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 37  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 3/4/2568 18:23:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 20:57:51
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6 ในวันที่ 27 มีนาคม 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ และคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
คำสำคัญ : การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 27  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 23:04:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 16:11:42
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การอบรม AI : Copilot, Train the Trainer: AI Skills for Everyone
การอบรม AI : Copilot, Train the Trainer: AI Skills for Everyone ในวันที่ 5 มีนาคม 2568 เวลา 13.00-16.30 น. แบบออนไลน์ ผ่าน Microsoft Teams ซึ่งจัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
คำสำคัญ : AI  Copilot  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 28  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 22:38:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 3:21:42
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม » เทคโนโลยี WIFI 7 มีอะไรใหม่ๆ
เทคโนโลยี WIFI 7 เป็นมาตรฐาน WiFi ที่กำลังจะมา โดยมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า IEEE 802.11be Extremely High Throughput (EHT) ซึ่งทำงานอยู่บน 3 คลื่นความถี่ (2.4 GHz, 5 GHz, และ 6 GHz)
คำสำคัญ : network  wifi7  เครือข่าย  อินเทอร์เน็ต  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 35577  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ประทีป สุขสมัย  วันที่เขียน 18/3/2568 11:02:53  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 12:26:51
ความรู้ที่ได้รับจากการประชุม อบรม หรือ สัมมนา » การจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ภายใต้โครงการจัดทำสมรรถนะการทำงานด้านการใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI Literacy)
คำสำคัญ : Artificial Intelligence  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 99  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พัชรี ยางยืน  วันที่เขียน 13/3/2568 17:59:07  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 22:12:16
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของคำตอบรอบ ๆ จุดสมดุล (Equilibrium Point) หรือวิธีการเฉพาะที่ใช้กับสมการเชิงอนุพันธ์ประเภทต่าง ๆ เสถียรภาพของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ (ODEs) dx/dt = f(x) โดย จุดสมดุล x* เป็นค่าของ x ที่ทำให้ f(x*) = 0 ซึ่งหมายความว่าระบบจะไม่เปลี่ยนแปลงที่จุดนั้น การหาเสถียรภาพของจุดสมดุล ของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ เราวิเคราะห์พฤติกรรมของระบบรอบ ๆ จุดสมดุล x* โดยใช้ อนุพันธ์ของ f(x) หรือ Jacobian matrix: กรณีตัวแปรเดียว 1. คำนวณหา f'(x*) 2. พิจารณา 2.1 ถ้า f'(x*) > 0 แล้ว จุดสมดุล x* มีเสถียรภาพ (Stable) 2.2 ถ้า f'(x*) < 0 แล้ว จุดสมดุล x* ไม่มีเสถียรภาพ (Unstable) 2.3 ถ้า f'(x*) = 0 แล้ว ยังสรุปไม่ได้ ต้องใช้วิธีอื่น เช่น Lyapunov function กรณีหลายตัวแปร 1. คำนวณหา Jacobian matrix: J(x) 2. คำนวณค่าลักษณะเฉพาะ (Eigenvalues) ของ J(x) 2.1 ถ้าค่าลักษณะเฉพาะมีส่วนจริงเป็นลบทุกตัว แล้ว จุดสมดุล x* มีเสถียรภาพ (Asymptotically Stable) 2.2 ถ้าค่าลักษณะเฉพาะมีส่วนจริงบางตัวเป็นบวก แล้ว จุดสมดุล x* ไม่มีเสถียรภาพ (Unstable) 2.3 ถ้าค่าลักษณะเฉพาะมีส่วนจริงบางตัวเป็นศูนย์ แล้ว ต้องใช้วิธีอื่นในการตรวจสอบ
คำสำคัญ : การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 94  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 7:11:55
อบรม » ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ระบบ ThaiJO2.0 สำหรับบรรณาธิการวารสาร
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 81  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รัญรณา ขยัน  วันที่เขียน 4/3/2568 14:51:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 6/4/2568 12:57:02
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » AI ในการทบทวนวรรณกรรมสำหรับการวิจัย
การใช้ AI ในการทบทวนวรรณกรรมสำหรับการวิจัยสามารถช่วยประหยัดเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานได้ อย่างไรก็ตาม ควรใช้ AI อย่างระมัดระวังและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลอยู่เสมอ
คำสำคัญ : AI  AI สำหรับทบทวนวรรณกรรม  Connected Papers  Perplexity  ResearchRabbit  SciSpace  อบรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 461  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 26/2/2568 18:03:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 23:02:05
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักการ ได้แก่ 1) หลักเคารพต่อบุคคล (Respect for persons) 2) หลักคุณประโยชน์ (Beneficence) 3) หลักยุติธรรม (Justice)
คำสำคัญ : จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 137  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 7:11:56
การประชุมวิชาการ » Chromatography class: Separation Technique and Getting Greener in Chromatography
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 28862  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิชามญชุ์ ลิ่มเจริญชาติ  วันที่เขียน 21/2/2568 10:00:48  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 6/4/2568 9:03:15
การใช้ AI ในการพัฒนางานวิจัย » ขอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์
ตามที่ข้าพเจ้าได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การใช้ AI ในการพัฒนางานวิจัย” ภายใต้ โครงการการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมสู่การนำไปใช้ประโยชน์ในวันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้เข้าขอรายงานสรุปเนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) กำลังกลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการวิจัยและพัฒนาในหลากหลายสาขาวิชา การเข้าอบรมการใช้ AI เพื่อการวิจัยช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรวบรวม วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูล ตลอดจนช่วยให้เกิดแนวทางใหม่ ๆ ในการศึกษาวิจัย 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์ข้อมูล AI สามารถช่วยนักวิจัยในการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ในการจำแนก วิเคราะห์ และพยากรณ์ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ลดเวลาการประมวลผล และช่วยให้ได้ข้อสรุปที่แม่นยำมากขึ้น 2. การปรับปรุงกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล การใช้ AI สามารถช่วยในกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น วิเคราะห์ภาพและการสืบค้นงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ได้ครอบคลุมและแม่นยำมากขึ้น 3. การลดภาระงานที่ซ้ำซ้อน AI สามารถช่วยลดภาระงานที่ซ้ำซ้อน เช่น การจัดการข้อมูล การสร้างเอกสารอัตโนมัติ การสร้างเอกสารการนำเสนอผลงาน 4. การสนับสนุนการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย AI สามารถช่วยนักวิจัยในการวิเคราะห์แนวโน้มของหัวข้อวิจัยที่ได้รับความนิยม แนะนำวารสารที่เหมาะสมสำหรับการตีพิมพ์ และช่วยตรวจสอบการอ้างอิงและการใช้ภาษาที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มโอกาสในการเผยแพร่ผลงานวิชาการ สรุป การเข้าอบรมการใช้ AI ในการพัฒนางานวิจัยเป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมาก เนื่องจากช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ลดเวลาการทำงาน และช่วยให้การวิเคราะห์ข้อมูลมีความแม่นยำมากขึ้น ดังนั้น นักวิจัยควรให้ความสำคัญกับการเรียนรู้และใช้ AI เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเพิ่มศักยภาพของงานวิจัยให้ก้าวหน้าอย่างยั่งยืน ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ • เพิ่มพูนความรู้และถ่ายทอดแก่นักศึกษาและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้เป็นการเพิ่มพูนและเสริมสร้างความรู้และทักษะใหม่ด้าน AI ที่สามารถนำมาช่วยในการพัฒนาการเรียนการสอนและการจัดทำรายงานฉบับ โดยข้าพเจ้านำความรู้จากการอบรมมาใช้ในการทำรายงานฉบับนี้โดยทำการร่างรายงานด้วยโปรแกรม Chat GPT และแก้ไขปรับปรุงโดยตัวเอง ตลอดจนการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปถ่ายทอดแก่นักศึกษา ซึ่งจะเป็นส่วนช่วยให้นักศึกษาประสบความสำเร็จในการศึกษาได้ตาม PLO ของหลักสูตร
คำสำคัญ : AI  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 249  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พรพรรณ อุตมัง  วันที่เขียน 21/2/2568 9:49:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 7:11:57
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 12th Asian Conference on Fixed Point Theory and Optimization 2025 (ACFPTO 2025)
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 12th Asian Conference on Fixed Point Theory and Optimization 2025 (ACFPTO 2025) และเสนอผลงานทางวิชาการในรูปแบบบรรยาย ระหว่างวันที่ 15-18 มกราคม 2568 ณ โรงแรมดวงตะวัน เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งจัดโดย ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำสำคัญ : การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1243  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 13/2/2568 20:37:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 7:11:56
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » Ann algorithm กับ Multi-labels
Approximate Nearest Neighbor (ANN) algorithm ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้ในด้านการค้นหาข้อมูลที่ใกล้เคียง (nearest neighbors) ในฐานข้อมูลหรือดาต้าเซ็ตที่มีขนาดใหญ่มาก โดยไม่ต้องค้นหาทุก ๆ ตัวในฐานข้อมูลที่ทำให้การคำนวณช้าลง ANN จะใช้วิธีที่ช่วยให้ค้นหาข้อมูลที่ใกล้เคียงได้รวดเร็วขึ้นในขณะที่ยังคงมีความแม่นยำสูง ตัวอย่างการใช้งานคือการค้นหาภาพที่คล้ายกันในฐานข้อมูลของภาพหรือการค้นหาผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงที่สุดในระบบแนะนำ (Recommendation Systems) ส่วน Multi-labels classification คือการที่เรามีหลายป้ายกำกับ (labels) ที่สามารถกำหนดให้กับข้อมูลหนึ่ง ๆ ได้ ตัวอย่างเช่นในกรณีของการจำแนกประเภทของอีเมล อาจจะมีป้ายกำกับ "สำคัญ", "งาน", "งานส่วนตัว" ซึ่งอีเมลหนึ่งอาจจะได้รับหลายป้ายกำกับพร้อมกันได้ การใช้ Multi-label classification มักใช้ในปัญหาที่แต่ละตัวอย่างสามารถถูกจัดอยู่ในหลายกลุ่มในเวลาเดียวกัน
คำสำคัญ : Approximate Nearest Neighbor  classification  Multi-labels  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 165  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 11/2/2568 9:52:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 18:29:31
การอบรมและสัมมนา » Generative AI Certification for Education: Thrive in an AI-driven Future
คำสำคัญ : Ethics  Generative AI  Law  Prompt  Societal Impact  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 259  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานุวัฒน์ เมฆะ  วันที่เขียน 10/2/2568 14:19:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 15:22:00
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPReL Checklist)
จากการเข้าร่วมอบรมมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPReL Checklist) ในวันที่ 4 ธันวาคม 2567 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นั้น จึงมาแชร์ความรู้ที่น่าสนใจที่ได้รับจากวิทยากรผู้มากประสบการณ์ในงานด้านมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ รศ.ดร.นัทที สุรีย์ รักษาการผู้แทนผู้อำนวยการศูนย์บริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภวิทยาแวดล้อมในการทำงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  ห้องปฏิบัติการ  อบรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 238  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 17/1/2568 19:01:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 20:55:05
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » เคล็ดลับและเทคนิคพิเศษในการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ (Tips & Tricks for your smart laboratory)
จากการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Try before tired : 5 Minutes hacking tips & Tricks for your smart laboratory ที่จัดโดย ที่ประชุมสภาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ร่วมกับเครือข่ายพัฒนาระบบงานห้องปฏิบัติการครั้งนี้จึงมาสรุป Tips & Tricks ที่น่าสนใจมาแชร์ให้ผู้อ่านที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการได้ลองอ่านและเผื่อจะลองนำไปประยุกต์ใช้กับงานของตนเองได้ ดังนี้
คำสำคัญ : google sheet  KM  Looker studio  smart laboratory  Tips&Tricks  กล้องจุลทรรศน์  ถ่ายภาพปลา  อาหารเลี้ยงเชื้อ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 181  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 17/1/2568 18:19:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 9:46:41
งานวิจัยปวีณา » การพัฒนาตนเองจากการเข้าร่วมอบรมโครงการ Train the Trainer ด้านการจัดการของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ สำหรับมหาวิทยาลัยเครือข่ายห้องปฏิบัติการปลอดภัย ภาคเหนือ
บุคลากรที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ วิจัย และบริการ ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสารเคมีและสารอันตราย จำเป็นต้อง ทราบถึง การจัดการของเสียสารเคมีและของเสียอันตรายในห้องปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ เพื่อเสริมสร้างให้เกิดการจัดการของเสียอันตรายในห้องปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามมาตรฐานและก่อให้เกิดความปลอดภัยกับทุกคน โดยการจัดการของเสียสารเคมีและของเสียอันตราย ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การจัดแยกประเภท 2. การจัดเก็บของเสีย 3. การบันทึกปริมาณของเสีย 4. การรายงานปริมาณของเสีย 5. การเก็บรวบรวมของเสียก่อนนำไปกำจัด
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 117  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปวีณา ภูมิสุทธาผล  วันที่เขียน 14/1/2568 10:36:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 16:17:18
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/งานประชุมวิชาการ » ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการอบรม เรื่อง มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPReL Checklist)
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดโครงการอบรม เรื่อง มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPRel Checklist) ในวันพุธที่ 4 ธันวาคม 2567 ณ ห้องเอกภพวิทยา อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาได้เข้าใจถึงนโยบายความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี และถึงมาตรฐานด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ (ESPRel Checklist) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.นัทธี สุรีย์ รักษาการแทน ผู้อำนวยการศูนย์บริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวิทยากรผู้ให้ความรู้ทางด้านความปลอดภัย
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 128  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วีรินท์รดา ทะปะละ  วันที่เขียน 13/1/2568 16:34:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 20:49:38
Piyatida Teaching KM » สัมมนา เรื่อง "Make Learning Great Again (อีกแล้ว!)" สร้างเทรนด์การศึกษาใหม่ เพื่อพี่น้องครูไทยในปี 2025
การสัมมนาจัดโดยโครงการนวัตกรรมการศึกษา Edsociate วิทยาลัยการศึกษาตลอดชีวิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง "Make Learning Great Again (อีกแล้ว!)" สร้างเทรนด์การศึกษาใหม่ เพื่อพี่น้องครูไทยในปี 2025 ในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เวลา 10.00 – 12.00 น. ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom Webinar ใน 3 หัวข้อ คือ จะอยู่อย่างไรเมื่อ AI ใกล้ครองโลก Personalized-Personal life ออกแบบการเรียนรู้ได้ด้วยตัวคุณ และ ทักษะชีวิต อภิปัญญา ฟูมฟักรักษาใจ เผยชุดทักษะใหม่ที่เด็กไทยต้องมีข้าพเจ้าได้เรียนรู้
คำสำคัญ : AI  การเรียนรู้  ทักษะชีวิต  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 227  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปิยธิดา กล่ำภู่  วันที่เขียน 13/1/2568 12:15:43  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 11:17:38
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50)” » เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50)
เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50) และนำเสนอผลงานวิจัย เมื่อวันที่ 25 - 27 พฤศจิกายน 2567 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่
คำสำคัญ : STT50  การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 224  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธวัลรัตน์ รัตนเดชานาคินทร์  วันที่เขียน 10/1/2568 14:11:20  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 9:47:42
งานวิจัยปวีณา » การพัฒนาตนเองจากการเข้าร่วมอบรม มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPReL Checklist)
มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีตามเกณฑ์ ESPReL Checklist ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 1) การบริหารระบบการจัดการความปลอดภัย 2) ระบบการจัดการสารเคมี 3) ระบบการจัดการของเสีย 4) ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือประกอบด้วย 5) ระบบการป้องกัน และแก้ไขภัยอันตราย 6) การใช้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ 7) การจัดการข้อมูลและเอกสาร
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 186  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปวีณา ภูมิสุทธาผล  วันที่เขียน 3/1/2568 12:42:59  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 23:10:23