รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ โครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตร์ 16 – 17 กุมภาพันธ์ 2560 ณ ห้องประชุมเธียร์เตอร์ อาคารเฉลิมพระเกียรติฉลองสิ
วันที่เขียน 13/3/2560 18:42:39     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/4/2568 6:38:52
เปิดอ่าน: 2926 ครั้ง

รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมโครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตร์ วันที่ 16 – 17 กุมภาพันธ์ 2560 ณ ห้องประชุมเธียร์เตอร์ อาคารเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี (อาคาร 34) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ตามหนังสือขออนุญาตเดินทางไปราชการ เลขที่ ศธ.0523.4.5 / 60 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งการเข้าร่วมประชุมวิชาการดังกล่าวข้าพเจ้าได้เลือกใช้งบประมาณการพัฒนาบุคลากรตามกรณีที่ 2 มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์ 2. เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยและนักศึกษาได้พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ด้านการวิจัย ตลอดจนการพัฒนาความร่วมมือเพื่อสร้างและพัฒนาความก้าวหน้าของงานวิจัยทางคณิตศาสตร์ต่อไป

รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมโครงการสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตร์ วันที่ 16 – 17 กุมภาพันธ์ 2560 ณ ห้องประชุมเธียร์เตอร์ อาคารเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี (อาคาร 34) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ตามหนังสือขออนุญาตเดินทางไปราชการ เลขที่ ศธ.0523.4.5 / 60 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งการเข้าร่วมประชุมวิชาการดังกล่าวข้าพเจ้าได้เลือกใช้งบประมาณการพัฒนาบุคลากรตามกรณีที่ 2 มีวัตถุประสงค์ดังนี้

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์
  2. เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยและนักศึกษาได้พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ด้านการวิจัย ตลอดจนการพัฒนาความร่วมมือเพื่อสร้างและพัฒนาความก้าวหน้าของงานวิจัยทางคณิตศาสตร์ต่อไป

ดังนั้นจึงขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเข้าร่วมประชุมวิชาการ ดังต่อไปนี้

วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560

มีกำหนดการและรายละเอียดต่างๆดังนี้

เวลา 8.00 – 09.00 น.  ลงทะเบียน

เวลา 9.00 – 09.30 น.  กล่าวเปิดงาน โดยรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผศ.ดร. เนตรชนก จันทร์สว่าง

เวลา 9.30 – 10.30 น.  บรรยายพิเศษ โดยวิทยากร อ.ดร. สมศักดิ์ โอฬารกิจเจริญ อาจารย์ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล บรรยายพิเศษเรื่อง

                             สิ่งที่น่าสนใจในคณิตศาสตร์ระดับปริญญาตรี ท่านได้ให้คำแนะนำในการศึกษาแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี และให้แง่คิดเกร็ดความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ รวมทั้งให้ผู้เข้าร่วมฟัง ทำกิจกรรมมีส่วนร่วมในการบรรยายพิเศษครั้งนี้ด้วย

เวลา 10.30 – 12.00 น. เข้าร่วมฟังการนำเสนอผลงานวิชาการแบบบรรยาย ซึ่งทำให้ได้แนวคิดต่างๆ ในการประยุกต์ทำวิจัยด้านคณิตศาสตร์ และได้เปิดมุมมองวิจัยด้านใหม่ โดยเรื่องที่ข้าพเจ้าได้เข้ารับฟังมีดังนี้

                             1. Products of formulas over tree languages of type ((n);(n))

                                นางสาวทักษพร ศิริรัตน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

                             2. Some property for common fixed point theorems incomplex valued metric  space นางสาวอุไรรัตน์ ดีปาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

                             3. ความสัมพันธ์ระหว่างกรุป กึ่งกรุป และกึ่งกรุปผกผัน

นายมณฑล ศรีสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

เวลา 13.00 – 14.30 น. เข้าร่วมฟังการนำเสนอผลงานวิชาการแบบบรรยาย โดยเรื่องที่ข้าพเจ้าได้เข้ารับฟังมีดังนี้

1. Idempotent and regular elements in power Menger-algebra of formulas

over tree languages นายภานุพันธ์ เขียวดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2. N-fuzzy right, left, Quasi-Ideals in Ordered Semigroups

นายชินวัฒน์ ชาวแพร่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

3.พาราเซมิโอเพนและสมบัติบางประการ

นายนรากร เศษวงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสาคาม

เวลา 14.30 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง

เวลา 15.00 – 17.00 น. เข้าร่วมฟังการนำเสนอผลงานวิชาการแบบบรรยาย โดยเรื่องที่ข้าพเจ้าได้เข้ารับฟังมีดังนี้

1. Idempotent elements in non-deterministic linear-hypersubstitution for

algebraic systems of type ((2);(2)))

นายมนัสพงษ์ นิพาพันธ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2. The Domination and Independence of some Cubic Bipartite Graphs นางสาวสภาภรณ์ แสนคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

3. Prediction of body weight from body size measurements in brown swiss feedlot cattle fedunder small-scale farming condition

นางสาวจีรพัชร ฤทธิ์ชัยเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

4. Filters in commutative be-algebras

นางสาวนุชรัตน์ พัฒนะโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560

มีกำหนดการและรายละเอียดต่างๆดังนี้

เวลา 08.30 – 12.00 น. เข้าร่วมฟังการนำเสนอผลงานวิชาการแบบบรรยาย โดยเรื่องที่ข้าพเจ้าได้เข้ารับฟังมีดังนี้

1. ขั้นตอนวิธีการทำซ้ำสำหรับวงศ์ของปัญหาเชิงดุลยภาพแบบแยกและปัญหาจุดตรึงในปริภูมิฮิลเบิร์ต นางสาวอรนุช ศรีสมดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

2. การประมาณค่าไดโอแฟนไทน์

นายเมธัส น้อยนาช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

3. On semiprime and Quasi semiprime ideals in AG-Groupoids

นางสาวกรรณิการ์ วงษ์คำหาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

4. Quasiideals of a P-Regular Near-Rings

นายเทพพิทักษ์ ทัพธมาตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

5. ANOER SIMPLE CONSTRUCTION OF SMITH NUMBER

นายพันธ์ศักดิ์ สุขวัตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

6. ON CERTAIN INEQUALITIES INVOLVING THE LAMBERT W FUNCTION นางสาวนิตยา เจริญรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

7. Structure of BF-algebras

นางสาวทิพวรรณ คุ้มไพฑูรย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

เวลา 13.00 น.            ประธานสาขาวิชาคณิตศาสตร์กล่าวปิดงานประชุมสัมมนาคณิตศาสตร์

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://e-manage.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=640
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
GIS issue » สรุปผลการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาโปรแกรมด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางอินเทอร์เน็ต” 17-21 มีนาคม 2568
สรุปผลการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาโปรแกรมด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางอินเทอร์เน็ต” 17-21 มีนาคม 2568 เป็นหลักสูตรฝึกอบรมโดยสำน้กพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาโปรแก...
Geodatabase  leaflet  Mapserver  PostGIS  PostgreSQL  Web Map Service     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 7/4/2568 22:34:16  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/4/2568 1:26:37   เปิดอ่าน 62  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการเรียนรู้ด้วย Microsoft Copilot ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ "Enhance Teaching and Learning with Microsoft Copilot"
การอบรมเชิงปฏิบัติการ "Enhance Teaching and Learning with Microsoft Copilot" ที่จัดโดย Microsoft Learn เป็นโอกาสสำคัญสำหรับนักการศึกษาในการเรียนรู้และนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการสอนและการเรีย...
AI ปัญญาประดิษฐ์  การเรียนการสอนดิจิทัล  การเรียนรู้ Microsoft  เทคโนโลยี Copilot  ประสิทธิภาพ     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน จักรกฤช เตโช  วันที่เขียน 4/4/2568 10:52:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2568 21:38:22   เปิดอ่าน 444  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50)” » เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50)
เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50) และนำเสนอผลงานวิจัย เมื่อวันที่ 25 - 27 พฤศจิกายน 2567 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่
STT50  การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  งานวิจัย     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน ธวัลรัตน์ รัตนเดชานาคินทร์  วันที่เขียน 10/1/2568 14:11:20  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2568 19:15:06   เปิดอ่าน 244  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง