ระบบแจ้งเตือน : ระบบจะสามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพต่อเมื่อทำงานบน IE Version 8.0 ขึ้นไป [Download]
หน้าหลักระบบบริหารจัดการความรู้ ทีมงานพัฒนาระบบ ทีมงานพัฒนาระบบ
E-Mail(มหาวิทยาลัย)

Password

** รหัสผ่านเดียวกับที่ใช้ในระบบ e-mail มหาวิทยาลัย
 
รายละเอียดบทความ
ตอนที่ 1 : ข้อมูลผู้เขียนบทความ
รหัสอ้างอิง : 552
ชื่อสมาชิก : ศรีวรรณ บุญเรือง
เพศ : หญิง
อีเมล์ : sriwan-b@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 4/8/2554 16:20:55
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 4/8/2554 16:20:55
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้
ตอนที่ 2 : ระดับความชอบที่ผู้อ่านมีต่อบทความนี้
ชอบ  0  คน ไม่ชอบ  0  คน
ตอนที่ 3 : รายละเอียดบทความ
เขียนหนังสือราชการอย่างไรให้สัมฤทธิ์ผล
การใช้ภาษามี 3 ระดับ คือ ภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผน ภาาาแบบการใช้คำเชื่อม(สันธาน) ข้อความหรือประโยค การใช้คำขยายคำที่ไม่ควรใช้ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านบริหารและธุรการ

           ภาษาและความสำคัญของภาษา  ภาษา คือ ความเป็นชาติ เอกลักษณ์ของชาติ

           ความเป็นนักวิชาการ คือศักดิ์ศรีของคน  ศักดิิ์ศรี คือ ความเท่าเทียมกันของมนุษย์และการได้รับการคาราวะจากมนุษย์ด้วยกันเท่าเทียมกัน ความสง่างามของนักวิชาการดูได้จากภาษาที่สื่อสารออกมา

   คุณสมบัติของนักวิชาการ 1.เป็นนักอ่าน  2.นักคิดค้น  3.การเป็นนักคิดและพัฒนา  4.มีคุณธรรม จริยธรรม 5.การรู้เท่าทันโลก

           ประเภทของภาษาวิชาการ 

             1. ภาษาวิชาการ เป็นภาษาที่ใช้เขียนเอกสารทางวิชาการ โดยทั่วไป แต่อยู่ในวงจำกัดเฉพาะนักวิชาการในสาขาวิชา                     นั้น ๆ เท่านั้น

             2. ภาษาเชิงวิชาการ เป็นภาษาที่ใช้เขียนเอกสารทางวิชาการโดยทั่วไปแต่ไม่เคร่งครัดเรื่องการใช้ศัพท์บัญญัติเฉพาะสาขาวิชาเท่าใดนัก  โดยมุ่งให้ผู้อ่านต่างสาขาวิชาเกิดความเข้าใจ

            การเขียน เป็นการสื่อสารที่สำคัญยิ่งของมนุษย์ 

           เอกสารราชการ มีความสำคัญ  1.เป็นเครื่องมือส่ื่อสารที่สำคัญที่สุด  2.เป็นภาพลักษณ์ของหน่วยงาน 3.เป็นสื่อสร้างสัมพันธ์ภาพ

            การใช้ภาษามี 3 ระดับ  1.ภาษาปาก คือคำพูดทั่วไป   2.ภาษากึงแบบแผน คือ ภาษาที่ใช้ในวิชากาาร  3. ภาษาแบบแผน คือ การใช้ภาษาที่เป็นทางการ เช่น คำกล่าวเปิดงาน  คำถวายพระพร

            แนวทางปฏิบััติในการใช้ภาษา 

            1. การใช้คำ แยกเป็น ศักดิ์ของคำ คำสรรพนาม คำราชาศัพท์ ศัพท์บัญญัติ  คำย่อ  คำลักษณนาม 

            2. การแต่งประโยค องค์ประกอบ ความถูกต้องตามหลักภาษาไทย  ความชัดเจน  ใจความกระชับ  กะทัดรัด สัมพันธ์ต่อเนื่อง 

ตัวอย่างเช่น  

            การเป็นวิทยากร จะต้องไม่ใช้คำว่ามอบเวที  แต่ต้องพูดคำว่าต่อไปนี้เป็นการแสดง... 

 

 

 

     สรุปความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "เขียนหนังสือราชการอย่างไรให้สัมฤทธิ์ผล" เมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน 2559

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3488  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
วันที่เขียน 21/9/2561 11:31:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 4:40:02
ตอนที่ 4 : รายการความคิดเห็นทั้งหมดที่มีต่อบทความนี้
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร : Management Information System [MIS]
รับผิดชอบระบบ โดย ศูนย์เทคโนโลยีสารนสนเทศ มหาวิทยาลัย
ติดต่อสอบถาม : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290