ถ่ายทอดประสบการณ์ : การประเมินผลงานวิชาการ เพื่อเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นด้านระบบสารสนเทศของสายสนับสนุนวิชาการ
วันที่เขียน 19/8/2561 15:09:06     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 8:44:13
เปิดอ่าน: 5928 ครั้ง

ตามที่ข้าพเจ้า นายสมชาย อารยพิทยา ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ สังกัดศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้รับเชิญให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิชาการ เพื่อเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นในสายสนับสนุน ด้านระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ข้าพเจ้าขอนำประสบการณ์มาถ่ายทอดความรู้เพื่อให้ทราบหลักเกณฑ์ในการประเมินผลของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ต่อไป

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิชาการนักวิชาการคอมพิวเตอร์

 

        ตามที่ข้าพเจ้า นายสมชาย อารยพิทยา ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ สังกัดศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ  ได้รับเชิญให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิชาการ เพื่อเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นในสายสนับสนุน ด้านระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ข้าพเจ้าขอนำประสบการณ์มาถ่ายทอดความรู้เพื่อให้ทราบหลักเกณฑ์ในการประเมินผลเพื่อเลื่อนระดับสูงขึ้น ในสายนักวิชาการคอมพิวเตอร์              

    ซึ่งข้าพเจ้าจะยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่ได้ทำการประเมินผลวิชาการ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังต่อไปนี้

  • คำสั่งมอบหมาย

    - การประเมินผลงานเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

              - การประเมินผลงานเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชำนาญการพิเศษ

           - การประเมินผลงานเข้าสู่ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานบริหารชำนาญงาน สาขาการบริการข้อมูลด้านสุขภาพ

 

 

  • หลักเกณฑ์ในการประเมินเพื่อเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น มีดังต่อไปนี้

             - ด้านการวิจัย

             - หลักเกณฑ์ในการขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้ชำนาญงาน 

               - แบบประเมินผลงานฯ ในการเลื่อนระดับ เป็นตำแหน่งชำนาญการพิเศษ 

แหล่งอ้างอิง

  1. การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิชาการ เพื่อขอกำหนดตำแหน่งเป็นนักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ลงวันที่ 17 กรกฎาคม 2560
  2. การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิชาการ เพื่อขอกำหนดตำแหน่งเป็นนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชำนาญการพิเศษ (มหาวิทยาลัยนเรศวร) ลงวันที่ 29 กันยายน 2560
  3. การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิชาการ เพื่อขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้ปฏิบัติงานบริหารชำนาญงาน สาขาการบริการข้อมูลด้านสุขภาพ (มหาวิทยาลัยมหิดล) ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2560

 

 

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การใช้งาน Microsoft-Copilot ในการวิเคราะห์และตรวจสอบ มคอ.3 รายวิชาการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
ผลการวิเคราะห์จาก Microsoft-Copilot พบว่า รายวิชา "การประมวลผลภาษาธรรมชาติ" ครอบคลุมแนวคิดและเทคนิคสำคัญในด้าน NLP เช่น การแบ่งส่วนคำ การวิเคราะห์ประโยค การสร้างโมเดลภาษา และการประยุกต์ใช้ในงานต่าง...
CLOs  Co-pilot  Microsoft  PLOs  การวิเคราะห์  มคอ.3     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 4/4/2568 11:48:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 4:20:57   เปิดอ่าน 37  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » Ann algorithm กับ Multi-labels
Approximate Nearest Neighbor (ANN) algorithm ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้ในด้านการค้นหาข้อมูลที่ใกล้เคียง (nearest neighbors) ในฐานข้อมูลหรือดาต้าเซ็ตที่มีขนาดใหญ่มาก โดยไม่ต้องค้นหาทุก ๆ ตัวในฐานข้อมูลที่...
Approximate Nearest Neighbor  classification  Multi-labels     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 11/2/2568 9:52:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 8:27:56   เปิดอ่าน 167  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 9:47:57   เปิดอ่าน 295  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง