ระบบแจ้งเตือน : ระบบจะสามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพต่อเมื่อทำงานบน IE Version 8.0 ขึ้นไป [Download]
หน้าหลักระบบบริหารจัดการความรู้ ทีมงานพัฒนาระบบ ทีมงานพัฒนาระบบ
E-Mail(มหาวิทยาลัย)

Password

** รหัสผ่านเดียวกับที่ใช้ในระบบ e-mail มหาวิทยาลัย
 
รายละเอียดบทความ
ตอนที่ 1 : ข้อมูลผู้เขียนบทความ
รหัสอ้างอิง : 1514
ชื่อสมาชิก : เยาวลักษณ์ ลิลิต
เพศ : หญิง
อีเมล์ : yaowaluck@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 18/4/2557 16:04:43
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 18/4/2557 16:04:43
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้
ตอนที่ 2 : ระดับความชอบที่ผู้อ่านมีต่อบทความนี้
ชอบ  17  คน ไม่ชอบ  0  คน
ตอนที่ 3 : รายละเอียดบทความ
องค์ความรู้จากการจัดการความรู้ เรื่อง การพัฒนางานวิจัยเชิงบูรณาการ
สืบเนื่องมาจากที่คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร ได้รับงบประมาณโครงการลักษณะ Project Base เป็นจำนวนหลายโครงการ มีผู้รับผิดชอบดำเนินการหลายคน ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินการขั้นตอนการจัดทำเอกสารในการเบิกจ่ายถูกต้องตามกฎระเบียบ เป็นแนวปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นจึงได้จัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ในการเบิกจ่ายเงินโครงการดังกล่าว

 

          การพัฒนางานวิจัยให้เกิดการบูรณาการในหลายๆ ด้าน ควรเริ่มต้นจากกระบวนการคิดโจทย์วิจัยที่สามารถเชื่อมโยงกับองค์ความรู้ หรือศาสตร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถนำไปใช้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด โดยการพัฒนางานวิจัยให้เกิดการบูรณาการ มีแนวทางดังต่อไปนี้

  1. การคิดหัวข้อโครงการวิจัยให้เชื่อมโยงตั้งแต่ 2 องค์ความรู้ขึ้นไปเข้าด้วยกัน และเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์หรือความต้องการของแหล่งบประมาณ
  2. การเชื่อมโยงกับองค์ความรู้อื่นๆ หรือหน่วยงานอื่น เช่น การร่วมมือกับคณะต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย หรือนอกมหาวิทยาลัย โดยมีแรงจูงใจในการจัดทำโครงการวิจัยจากหลายๆ ปัจจัย อาทิเช่น

                   - ปัญหาที่พบซึ่งมีผลกระทบต่อสังคม รายได้ หรือสิ่งแวดล้อม

                   - เครื่องมือ อุปกรณ์ที่มี

                   - พันธมิตร หรือคนที่คอยช่วยเหลือ เช่น บุคลากรต่างๆ ที่จะอำนวยความสะดวก

                   - มีเป้าหมายที่ชัดเจน

  1. กระบวนนำโครงการวิจัยเพื่อการบูรณาการ

          - งานวิจัยนั้นต้องมีการตกผลึกเป็นองค์ความรู้ แล้วนำมาถ่ายทอดโดยมีการบูรณาการกับงานด้านอื่นๆ เช่น การเรียนการสอน  การบริการวิชาการ

          - งานวิจัยนั้นต้องนำไปใช้ได้จริง โดยร่วมกันกับศาสตร์อื่นๆ ที่สามารถเข้าถึงง่ายและเกิดผล

          - หากงานวิจัยที่นำมาบูรณาการ เกิดความคาบเกี่ยว หรือมีทิศทางไปในทางเดียวกันกับศาสตร์อื่นๆ ควรมีการพูดคุยเพื่อกำหนดทิศทางการบูรณาการ เพื่อป้องกันการทับซ้อนของงานวิจัย

          - นักวิจัยต้องมีความกระตือรือร้น และค้นคว้าหาองค์ความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ

 

เอกสารอ้างอิง

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2479  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
วันที่เขียน 12/7/2561 15:48:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 21:08:30
ตอนที่ 4 : รายการความคิดเห็นทั้งหมดที่มีต่อบทความนี้
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร : Management Information System [MIS]
รับผิดชอบระบบ โดย ศูนย์เทคโนโลยีสารนสนเทศ มหาวิทยาลัย
ติดต่อสอบถาม : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290