Smart Classroom ห้องเรียนอัจฉริยะ อาคารเรียนรวม 80 ปี มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วันที่เขียน 22/3/2561 18:09:11     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 15:44:00
เปิดอ่าน: 4338 ครั้ง

ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) เป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) อย่างเหมาะสมเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยจัดห้องเรียนให้มีโต๊ะ เก้าอี้ ระบบไฟฟ้า ระบบภาพและเสียง ระบบปรับอากาศ ที่เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนต่างๆ ในห้องเรียน ได้แก่ กิจกรรมกลุ่มย่อย (Small Group) การบรรยาย (Lecture) โครงงาน (Project Work) นำเสนอหน้าชั้นเรียน (Presentation)

          ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) เป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) อย่างเหมาะสมเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยจัดห้องเรียนให้มีโต๊ะ เก้าอี้ ระบบไฟฟ้า ระบบภาพและเสียง ระบบปรับอากาศ ที่เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนต่างๆ ในห้องเรียน ได้แก่ กิจกรรมกลุ่มย่อย (Small Group) การบรรยาย (Lecture) โครงงาน (Project Work) นำเสนอหน้าชั้นเรียน (Presentation)

 วัตถุประสงค์ ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom)

  1. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ (Learning Skill)
  2. ทักษะการเรียนรู้จากการสืบค้น (Research Skill) ได้ด้วยตนเอง เพื่อตอบสนองความต้องการเรียนรู้เป็นรายบุคคลของผู้เรียน
  3. การมีส่วนร่วมในการเรียน (Collaborative Learning) ของผู้เรียน และผู้สอนได้อย่างเต็มศักยภาพ

 SMART Model

  1. S : Switch on/off ผู้สอนมีความสามารถในการ เปิด/ปิด อุปกรณ์ห้องเรียนอัจฉริยะได้อย่างถูกต้อง
  2. M : Media Management ผู้สอนมีความสามารถในการเลือกใช้สื่อการสอนและจัดการได้อย่างเหมาะสม ได้แก่ นำเสนอจากเครื่องคอมพิวเตอร์ Notebook ที่ผู้สอนเตรียมมา เครื่องฉายภาพ 3 มิติ ใช้กล้องวีดีโอ ใช้ Whiteboard, Interactive Board, E-Board
  3. A : Audio/Video ผู้สอนมีความสามารถในการปรับเสียงขึ้น-ลง และเลือกปรับมุมภาพการฉายจากกล้องวีดีโอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4. R : Record/ Pause/ Stop VDO Clip ผู้สอนมีความสามารถบันทึก หยุดชั่วคราว และหยุดวีดีโอการสอนได้อย่างถูกต้อง และสามารถส่งวีดีโอการสอนที่บันทึก เข้าสู่ระบบ MJU Channel http://vdo.mju.ac.th
  5. T : Transfer to e-Learning ผู้สอนมีความสามารถส่งวีดีโอการสอนที่บันทึกไว้ใน http://vdo.mju.ac.th ส่งต่อไปเผยแพร่เข้าสู่ระบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) เว็บไซต์ http://lms2.mju.ac.th

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://e-manage.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=787
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การใช้งาน Microsoft-Copilot ในการวิเคราะห์และตรวจสอบ มคอ.3 รายวิชาการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
ผลการวิเคราะห์จาก Microsoft-Copilot พบว่า รายวิชา "การประมวลผลภาษาธรรมชาติ" ครอบคลุมแนวคิดและเทคนิคสำคัญในด้าน NLP เช่น การแบ่งส่วนคำ การวิเคราะห์ประโยค การสร้างโมเดลภาษา และการประยุกต์ใช้ในงานต่าง...
CLOs  Co-pilot  Microsoft  PLOs  การวิเคราะห์  มคอ.3     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 4/4/2568 11:48:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 14:05:57   เปิดอ่าน 39  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » Ann algorithm กับ Multi-labels
Approximate Nearest Neighbor (ANN) algorithm ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้ในด้านการค้นหาข้อมูลที่ใกล้เคียง (nearest neighbors) ในฐานข้อมูลหรือดาต้าเซ็ตที่มีขนาดใหญ่มาก โดยไม่ต้องค้นหาทุก ๆ ตัวในฐานข้อมูลที่...
Approximate Nearest Neighbor  classification  Multi-labels     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 11/2/2568 9:52:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 14:05:56   เปิดอ่าน 170  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 9:47:57   เปิดอ่าน 295  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง