ถอดบทเรียนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ WebService
วันที่เขียน 10/4/2557 15:20:30     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 9:01:05
เปิดอ่าน: 3382 ครั้ง

ประโยชน์ที่ได้รับ การพัฒนาระบบด้วย Web Service จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สรุปได้ว่า ก่อให้เกิดข้อดี ดังนี้ 1. ป้องกันการกรอกและบันทึกข้อมูลซ้ำซ้อน 2. ป้องกันการกรอกข้อมูลผิดพลาด 3. การพัฒนาระบบรายงานไม่ต้องเริ่มต้นการพัฒนาจากศูนย์ ไม่ต้องออกแบบฐานข้อมูล พัฒนาระบบ หรือแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลใหม่ 4. ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือของข้อมูล 5. มีผู้ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล เพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลแหล่งเดียว 6. เป็นการผลักดัน และก่อให้เกิด Data Center ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย 7. การสำรองข้อมูลเกิดขึ้นที่ส่วนกลาง 8. การปรับปรุงแก้ไขเกิดขึ้นที่ส่วนกลาง 9. การตกแต่งหน้าเว็บไซด์รายงานผล สามารถทำได้ด้วยตนเอง ทั้งนี้หน่วยงานสามารถค้นหาความรู้เพิ่มเติมได้จาก Search Engine ทุกระบบ โดยใช้คำสำคัญ อาทิเช่น Web Service, NuSOAP เป็นต้น

จากการถอดบทเรียนการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การนำเทคโนโลยี Web Service มาประยุกต์ใช้ในการบริหารสารสนเทศของมหาวิทยาลัย” จำนวน 2 ครั้ง ทำให้เกิดความรู้และอยากเผยแพร่ให้เพื่อนผู้พัฒนาระบบได้รับประโยชน์ เช่นเดียวกัน โดยการพัฒนาระบบด้วยการติดต่อฐานข้อมูลผ่าน Web Service ก่อให้เกิดข้อดีหลายข้อ ดังนี้

  1. ป้องกันการกรอกและบันทึกข้อมูลซ้ำซ้อน
  2. ป้องกันการกรอกข้อมูลผิดพลาด
  3. การพัฒนาระบบรายงานไม่ต้องเริ่มต้นการพัฒนาจากศูนย์ ไม่ต้องออกแบบฐานข้อมูล พัฒนาระบบ หรือแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลใหม่
  4. ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือของข้อมูล
  5. มีผู้ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล เพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลแหล่งเดียว
  6. เป็นการผลักดัน และก่อให้เกิด Data Center ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
  7. การสำรองข้อมูลเกิดขึ้นที่ส่วนกลาง
  8. การปรับปรุงแก้ไขเกิดขึ้นที่ส่วนกลาง
  9. การตกแต่งหน้าเว็บไซด์รายงานผล สามารถทำได้ด้วยตนเอง

ผู้บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

นางสาวณัฐกฤตา โกมลนาค

ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://e-manage.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=287
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การใช้งาน Microsoft-Copilot ในการวิเคราะห์และตรวจสอบ มคอ.3 รายวิชาการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
ผลการวิเคราะห์จาก Microsoft-Copilot พบว่า รายวิชา "การประมวลผลภาษาธรรมชาติ" ครอบคลุมแนวคิดและเทคนิคสำคัญในด้าน NLP เช่น การแบ่งส่วนคำ การวิเคราะห์ประโยค การสร้างโมเดลภาษา และการประยุกต์ใช้ในงานต่าง...
CLOs  Co-pilot  Microsoft  PLOs  การวิเคราะห์  มคอ.3     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 4/4/2568 11:48:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 4:20:57   เปิดอ่าน 37  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » Ann algorithm กับ Multi-labels
Approximate Nearest Neighbor (ANN) algorithm ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้ในด้านการค้นหาข้อมูลที่ใกล้เคียง (nearest neighbors) ในฐานข้อมูลหรือดาต้าเซ็ตที่มีขนาดใหญ่มาก โดยไม่ต้องค้นหาทุก ๆ ตัวในฐานข้อมูลที่...
Approximate Nearest Neighbor  classification  Multi-labels     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 11/2/2568 9:52:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/4/2568 8:27:56   เปิดอ่าน 167  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/4/2568 9:47:57   เปิดอ่าน 295  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง