โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ระยะที่ 5 ปี 2563
วันที่เขียน 24/6/2564 14:50:10     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 10/4/2568 20:50:19
เปิดอ่าน: 1449 ครั้ง

นโยบายและแนวทางในการกำกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมีของวช. การขยายและผลการยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการสู่ความเข้มแข็งของการวิจัยของประเทศ รวมถึงองค์ประกอบการบริหารระบบการจัดการความปลอดภัย ระบบการจัดการสารเคมีต่างๆ

โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ระยะที่ 5 ปี 2563 นโยบายและแนวทางในการกำกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมีของวช. การขยายและผลการยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการสู่ความเข้มแข็งของการวิจัยของประเทศ รวมถึงองค์ประกอบการบริหารระบบการจัดการความปลอดภัย ระบบการจัดการสารเคมีต่างๆ หัวข้อที่ 2 “การจัดการของเสียในห้องปฏิบัติการ” องค์ประกอบการจัดการของเสียในห้องปฏิบัติการ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 1. การจัดการข้อมูลของเสีย 2.การจำแนกประเภทของของเสีย 3.การรวบรวมและจัดเก็บของเสีย 4. การบำบัดและกำจัดของเสีย 5.การตรวจติดตามการประเมินและรายงานผลการดำเนินการด้านต่างๆของการจัดการของเสีย หัวข้อที่ 3 “การดำเนินงานด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการด้านองค์ประกอบที่ 4-7 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (มอก.2677-2558)” 1.ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการอุปกรณ์และเครื่องมือ 2.ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย 3.การให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ หัวข้อที่ 4 “การดำเนินงานด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการด้านองค์ประกอบที่ 4-7 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (มอก.2677-2558)” การใช้งาน ESRel Checklist คู่มือการประเมิน ESRel Checklist และขั้นตอนการใช้งานระบบ ESRel Checklist ทั้งการลงทะเบียนห้องปฏิบัติการผ่านระบบ คำแนะนำการใช้งาน ESRel คำแนะนำการกรอกข้อมูล ESRel Checklist รวมทั้งการฝึกปฏิบัติการใช้งาน ESRel Checklist เพื่อสำรวจสถานภาพความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://e-manage.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1166
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » AI ในการทบทวนวรรณกรรมสำหรับการวิจัย
การใช้ AI ในการทบทวนวรรณกรรมสำหรับการวิจัยสามารถช่วยประหยัดเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานได้ อย่างไรก็ตาม ควรใช้ AI อย่างระมัดระวังและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลอยู่เสมอ
AI  AI สำหรับทบทวนวรรณกรรม  Connected Papers  Perplexity  ResearchRabbit  SciSpace  อบรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 26/2/2568 18:03:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 10/4/2568 19:36:44   เปิดอ่าน 510  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง